วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2562

5G คืออะไร!! ใช้ยังไง? มาดูกัน�� | เฟื่องลดา

สารสนเทศภายในโรงเรียน

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (ฐานข้อมูลไม่ซ้ำกัน)

1.
Learning to program, especially in the object-oriented paradigm, is a difficult undertaking for many students. As a result, computing educators have tried a variety of instructional methods to assist beginning programmers. These include developing approaches geared specifically toward novices and experimenting with different introductory programming languages. However, determining the effectiveness of these interventions poses a problem. The research presented here developed an instrument to assess student learning of fundamental and object-oriented programming concepts, then used that instrument to investigate the impact of different teaching approaches and languages on university students’ ability to learn those concepts. Extensive data analysis showed that the instrument performed well overall. Reliability of the assessment tool was statistically satisfactory and content validity was supported by intrinsic characteristics, question response analysis, and expert review. Preliminary support for construct validity was provided through exploratory factor analysis. Three components that at least partly represented the construct “understanding of fundamental programming concepts” were identified: methods and functions, mathematical and logical expressions, and control structures. Analysis revealed significant differences in student performance based on instructional language and approach. The analyses showed differences on the overall score and questions involving assignment, mathematical and logical expressions, and code completion. Instructional language and approach did not appear to affect student performance on questions addressing object-oriented concepts.

https://dl.acm.org/citation.cfm?id=2785807

2. Development of an English for Academic Purposes course using content and language integrated learning approach to enhance reading and writing skills of undergraduate students / Burajt Phoodokmai 

The objectives of this research were to develop an English for Academic Purposes course (EAP) using CLIL approach. The participants were 37 undergraduate students studying at Udon Thani Rajabhat University and enrolled in English for Academic Purposes as a required course in semester 2, academic year 2011. The instruments used in this research were the achievement test, a unit/lesson plan, observation form, and learning log. The data were analyzed using qualitative and quantitative statistics using arithmetic means scores, standard deviation, t-test, frequency, and percentage. The findings of the study revealed that: (1) The developed course of EAP using CLIL approach enhanced the students’ reading and writing skills as evidenced by the average scores on the post-test of the Achievement test being significantly higher than the pre-test of the Achievement test scores at the significant level of 0.05, and (2) The developed course of EAP using CLIL approach enhanced students’ engagement in classroom activities as evidenced by the observable checklists of each stage which showed the students’ engagement in classroom activities significantly increased according to the frequency of time on level 3 (students engaged in the classroom activities most of the time). Additionally, learning log found that students had positive attitude towards EAP course using CLIL approach. These findings confirm that the developed course using CLIL approach helped improve students’ reading and writing skills, and also increasingly enhanced the students’ engagement in classroom activities

https://library.car.chula.ac.th/search?/d{u0E20}{u0E32}{u0E29}{u0E32}{u0E2D}{u0E31}{u0E07}/d|c0d2c9d2cdd1a7a1c4c9+a1d2c3c8d6a1c9d2c5e1d0a1d2c3cacdb9+cdd8b4c1c8d6a1c9d2/-3%2C-1%2C0%2CB/frameset&FF=d|c0d2c9d2cdd1a7a1c4c9+a1d2c3c8d6a1c9d2c5e1d0a1d2c3cacdb9+cdd8b4c1c8d6a1c9d2+bcd9e9bed9b4c0d2c9d2b5e8d2a7bbc3d0b7e0c8&1%2C%2C2

3. Academic Advisors and Their Diverse Advisees: Towards More Ethical Global Universities

In this comparative content analysis, job postings for academic advising personnel from U.S. and Canadian higher education institutions were examined to ascertain expectations for job candidates in terms of skills and duties, educational requirements, and compensation. Fifty-three job descriptions from 18 research-intensive, public universities were collected for this study. The findings show that institutions expect academic advisors to be multitalented and skilled professionals, but that calls for experience working with international students are limited, despite the rising importance of internationalization in higher education.

4. Comparative Analysis of Rote Learning on High and Low Achievers in Graduate and Undergraduate Programs

A survey was conducted to study the preferred learning strategies; that is, surface learning or deep learning of undergraduate and graduate male and female students and the impact of the preferred strategy on their academic performance. Both learning strategies help university students to get good scores in their examinations to meet the demands of industry in workforce. Quantitative research method was used to determine the impact of learning strategy on academic achievements. The R-SPQ2F questionnaire was sent to 103 students through Google forms and hard copies through snowball sampling technique. The results show that rote learning and academic performance are inversely related to each other. In high achievers, deep learning is significant as compared to low achievers. Furthermore, comparative analysis of learning styles on males and females showed that both preferred deep learning strategy equally. Learning strategy is not related to education level of students because there is no difference among preferred learning strategies of graduate and undergraduate students.

https://eric.ed.gov/?q=comparative+learning&id=EJ1161522

5. Comparative Study on the Learning Performance between Web-Based Distance Learning  and Classroom Learning

Based on comparative study, the paper mainly concentrates on the learning performance between Web-based distance education and classroom education. A experimental school in Xinjiang has been selected as research object in this study. To be specific, researches from 3 point of view have been designed to analyze the influence of learning style on learning performance in Xinjiang. Generally the purpose of this study is to find the approach to enhance learning performance of distance education learner and to promote distance education cause in remote and undeveloped areas.

https://ieeexplore.ieee.org/document/5070301

บทความฐานข้อมูลภาษาไทย 5 เรื่อง

(1) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารกับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5

http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=6265&query=%BA%C3%D4%CB%D2%C3%B7%C3%D1%BE%C2%D2%A1%C3&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-03-29&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=10&maxid=1264

(2) การพัฒนาความเป็นผู้นำเชิงจิตวิทยาเพื่อนำการเปลี่ยนแปลงองค์การสู่ ศตวรรษที่ 21
http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=10584&query=%BE%D1%B2%B9%D2%CD%A7%A4%EC%A1%C3&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-03-29&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=44

(3)  แนวคิดในการนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติไปใช้ในการพัฒนาองค์กร

http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=174249&query=%BE%D1%B2%B9%D2%CD%A7%A4%EC%A1%C3&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-03-29&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=15&maxid=44

(4)  พัฒนาองค์กรด้วยวัฒนธรรมความปลอดภัย


(5) การพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศกับงานทรัพยากรมนุษย์ในวงการห้องสมุด



บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ภาษาไทย 5 เรื่อง

(1)  เรื่องศึกษาระดับการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษากับเกณฑ์มาตรฐานด้านการบริหารจัดการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดระนอง

วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติงานตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนในจังหวัดระนองด้านการบริหารจัดการ เสนอแนะการปฏิบัติงานตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดระนองด้านการจัดระบบบริหาร และการจัดการในสถานศึกษา ตามเกณฑ์มาตรฐานของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดระนอง จำนวน 87 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามชนิดแบบสำรวจรายการ (check list) โดยได้รับแบบสอบถามคืนจำนวน 87 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยเทียบกับเกณฑ์ของเบสต์ (best) ผลการวิจัยพบว่าใน 5 เกณฑ์มาตรฐานผู้บริหารปฏิบัติในระดับมากในด้านการจัดองค์การ โครงสร้าง ความสัมพันธ์ชุมชน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การมีภาวะผู้นำ เป็นนักบริหาร มีการจัดหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่นตลอดจนการจัดสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ผู้บริหารในตำแหน่งผู้อำนวยการมีการปฏิบัติมาก รองลงมาคืออาจารย์ใหญ่ ส่วนที่มีการปฏิบัติบางส่วนน้อย คือตำแหน่งครูใหญ่ ในด้านการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับชมรมศิษย์เก่า ปัญหาที่พบเกี่ยวกับการกระจายอำนาจน้อย การวางแผนยังขาดความชัดเจนทั่วถึงส่วนการระดมทรัพยากรยังไม่เพียงพอ การควบคุม กำกับ ติดตามประเมินผล ยังไม่เป็นระบบ ข้อเสนอแนะ ด้านการกระจายอำนาจมีการกระจายอำนาจให้ผู้ช่วยหรือผู้รักษาการมีการกระจายอำนาจจากหน่วยเหนือด้านงบประมาณ ด้านระบบการวางแผน มีการวางแผนใช้แผนอย่างเป็นระบบ ด้านระดมทรัพยากร อาศัยความร่วมมือจากชุมชน ผู้ปกครอง หน่วยงาน องค์กรเอกชน การควบคุมกำกับติดตามประเมินผล ดำเนินการให้เป็นระบบชัดเจนมีการนำผลการประเมินมาใช้

http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=15801&query=%A1%D2%C3%A8%D1%B4%A1%D2%C3%E3%B9%CA%B6%D2%B9%C8%D6%A1%C9%D2&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-03-29&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=3

(2) การดำเนินงานระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในสถานศึกษา เขตอำเภอเมืองสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1



http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=347274&query=%A1%D2%C3%A8%D1%B4%A1%D2%C3%E3%B9%CA%B6%D2%B9%C8%D6%A1%C9%D2&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-03-29&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=2&maxid=3

(3) ปัจจัยตัวแบบการจัดการที่มีประสิทธิผลต่อหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการนานโยบายไปปฏิบัติในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10 จังหวัด
http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=475832&query=%A1%D2%C3%A8%D1%B4%A1%D2%C3%E3%B9%CA%B6%D2%B9%C8%D6%A1%C9%D2&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-03-29&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=3&maxid=3

(4)  การสรรหาและบริหารทรัพยากรทางการศึกษาจากท้องถิ่นของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานช่วงชั้นที่ 1 - 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหาร การสรรหา ปัญหาและแนวทางแก้ไขทรัพยากรทางการศึกษาจากท้องถิ่นของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานช่วงชั้นที่ 1 - 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 85 คน และครูผู้สอนจำนวน 264 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (check list) และแบบสอบถามปลายเปิด (open ended) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (frequencies) และค่าร้อยละ (percentage) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS/for Windows Version 10.0 ผลการวิจัยพบว่า สภาพการบริหาร การสรรหา ปัญหา แนวทางแก้ปัญหาในการบริหารและสรรหาทรัพยากรทางการศึกษาจากท้องถิ่น มีดังนี้ 1. สภาพการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาจากท้องถิ่น พบว่า ทรัพยากรบุคคลที่เข้ามามี ส่วนร่วมกับสถานศึกษามากที่สุด คือ พ่อแม่ ผู้ปกครอง โดยส่วนใหญ่เข้ามามีส่วนร่วมทำกิจกรรมกับ สถานศึกษา ในส่วนของการบริหารทรัพยากรเงิน พบว่า สถานศึกษาได้นำทรัพยากรจากท้องถิ่นมาใช้ตามวัตถุประสงค์ของเจ้าของเงิน และสถานศึกษาได้แต่งตั้งให้มีผู้รับผิดชอบทำบัญชีควบคุมใช้จ่ายเงินที่ได้จากท้องถิ่น ในส่วนของการบริหารทรัพยากรทางธรรมชาติ พบว่า สถานศึกษานำทรัพยากรที่เป็นพืชชนิดต่าง ๆ มาใช้ในการศึกษามากที่สุด ในส่วนของการบริหารทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น พบว่า สถานศึกษาใช้การประกอบพิธีกรรมทางศาสนามาใช้ในการจัดการศึกษามากที่สุด และในส่วนของทรัพยากรทางสังคม พบว่า สถานศึกษาใช้กิจกรรมวันสำคัญของท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการศึกษา มากที่สุด 2. สภาพการสรรหาทรัพยากรทางการศึกษาจากท้องถิ่น มีกิจกรรมที่ดำเนินการหลากหลาย โดยกิจกรรมที่ดำเนินการอย่างเด่นชัดมากที่สุด คือ การสรรหาทรัพยากรบุคคล โดยการสำรวจและสอบถามจากผู้รู้ การสรรหาทรัพยากรเงิน โดยการขอรับบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธามาเพื่อเป็นทุนการศึกษาแก่นักเรียน การสรรหาทรัพยากรทางธรรมชาติ โดยการสำรวจและรวบรวมแหล่งธรรมชาติในชุมชนการสรรหาทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยการสำรวจข้อมูลจากชุมชน และการสรรหาทรัพยากรทางสังคม พบว่า สถานศึกษาค้นหาข้อมูล โดยการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน 3. ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาจากท้องถิ่น พบว่า การบริหารทรัพยากรบุคคล มีปัญหามากที่สุด คือ สถานศึกษาขาดการวางแผนการใช้ทรัพยากรบุคคล แก้ปัญหาโดยจัดทำโครงการในต้นปีการศึกษาเพื่อจะได้วางแผนได้ชัดเจน ในส่วนของการบริหารทรัพยากรเงิน มีปัญหามากที่สุด คือ เงินมีไม่พอกับการต้องการใช้ แก้ปัญหาโดยการจัดสรรตามความจำเป็นและขอบริจาค ในส่วนของการบริหารทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น มีปัญหามากที่สุด คือ ทรัพยากร ที่มนุษย์สร้างขึ้นในชุมชนที่สอดคล้องกับหลักสูตรมีน้อย แก้ปัญหาโดยการสำรวจแหล่งทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้นแล้วจัดทำโครงการ ในส่วนของการบริหารทรัพยากรสังคม มีปัญหามากที่สุด คือ ผู้รู้ไม่มีเวลามาให้ความรู้ในสถานศึกษา แก้ปัญหาโดยสำรวจหาผู้มีความรู้ความสามารถ วางแผนการใช้ทรัพยากรทางสังคมและนำนักเรียนไปหาผู้รู้หรือเชิญผู้รู้ในชุมชนใกล้เคียงที่สะดวกและเต็มใจมาให้ความรู้ในสถานศึกษา 4. ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาในการสรรหาทรัพยากรทางการศึกษาจากท้องถิ่น พบว่า การสรรหาทรัพยากรบุคคล มีปัญหามากที่สุด คือ บุคลากรในท้องถิ่นที่เป็นวิทยากรมาให้ความรู้มีน้อย แก้ปัญหาโดยเชิญมาเป็นวิทยากรแล้วยกย่องให้ความสำคัญ หรือเชิญวิทยากรจากชุมชนใกล้เคียงมาให้ความรู้ ในส่วนของการสรรหาทรัพยากรเงิน มีปัญหามากที่สุด คือ ขาดการสนับสนุนการจากชุมชน เพราะประชาชนมีรายได้น้อย แก้ปัญหาโดยขอบริจาคจากผู้มีทุนทรัพย์ซึ่งอยู่นอกชุมชน และรับบริจาคจากเจ้าภาพงานศพ ในส่วนของการสรรหาทรัพยากรทางธรรมชาติ มีปัญหามากที่สุด คือ ทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่นมีน้อย แก้ปัญหาโดยพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ และขอบริจาคหรือจัดหา มาไว้ที่โรงเรียน ในส่วนของการสรรหาทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น มีปัญหามากที่สุด คือ ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้นอยู่ห่างจากสถานศึกษา แก้ปัญหาโดยการพานักเรียนไปทัศนศึกษา หรือนำภาพเกี่ยวกับทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้นมา ให้ดูและศึกษาค้นคว้าในห้องสมุด และในส่วนของการสรรหาทรัพยากร ทางสังคม มีปัญหามากที่สุด คือ ชุมชนไม่ค่อยจัดกิจกรรมตามประเพณีหรือทางศาสนา แก้ปัญหาโดย จัดหาวีดีทัศน์ สื่อนวัตกรรมทางการศึกษา มาให้นักเรียนดู หรือค้นคว้าจากห้องสมุดและสอบถามผู้รู้

http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=18&query=%BA%C3%D4%CB%D2%C3%B7%C3%D1%BE%C2%D2%A1%C3&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-03-29&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=1264

(5)  ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารกับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยการบริหาร ระดับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการ บริหารกับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น และปัจจัยการบริหารที่ สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 จำนวน 101 โรงเรียน ผู้ตอบ แบบสอบถามประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ครู ผู้สอน และผู้แทนชุมชน มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 598 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณ ค่า สอบถามเกี่ยวกับปัจจัยการบริหารจำนวน 12 ด้าน คือ ความ ชัดเจนของโครงสร้างองค์การ การนำเทคโนโลยีมาใช้ ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก บรรยากาศที่ดีภายในองค์การ ความ ผูกพันธ์ต่องค์กร ความพอใจในการปฏิบัติงาน ความชัดเจนของการ กำหนดเป้าหมาย การบริหารทรัพยากร สภาพส่งเสริมการปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพของกระบวนการติดต่อสื่อสาร มีภาวะผู้นำและการ ตัดสินใจ และการปรับตัวขององค์การและการริเริ่มสิ่งใหม่ และ สอบถามเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น จำนวน 5 ด้าน คือ การ ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนหรือจัดกิจกรรมเสริม การปรับ รายละเอียดของเนื้อหา การจัดทำคำอธิบายหรือรายวิชาเพิ่มเติม ขึ้นใหม่ การปรับปรุงและเลือกใช้สื่อการเรียนและการจัดทำสื่อ การเรียนขึ้นใหม่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สันโพรดัคโมเมนต์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณแบบเพิ่มตัวแปรทีละขั้น ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ปัจจัยการ บริหารของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 พบว่า มีเพียงด้านเดียวที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ความ ชัดเจนของโครงสร้างองค์การ รองลงมาตามลำดับ คือ ความชัดเจนของ การกำหนดเป้าหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการติดต่อสื่อสาร การ ปรับตัวขององค์การและริเริ่มสิ่งใหม่ ความพอใจในการปฏิบัติงาน ความผูกพันธ์ต่อองค์การ ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก บรรยากาศที่ดีภายในองค์การ มีภาวะผู้นำและการตัดสินใจ สภาพแวดล้อมส่งเสริมการปฏิบัติงาน และการนำเทคโนโลยีมาใช้ 2. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรม สามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากเมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก จำนวน 2 ด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ การปรับกิจกรรม การเรียนการสอนหรือจัดกิจกรรมเสริม รองลงมา คือ การปรับปรุงและ เลือกใช้สื่อการเรียน นอกนั้นอยู่ในระดับปานกลาง เรียงตามลำดับ คือ การจัดทำคำอธิบายหรือรายวิชาเพิ่มเติมขึ้นใหม่ การจัดทำ สื่อการเรียนขึ้นใหม่ และการปรับรายละเอียดของเนื้อหา 3. ปัจจัยการบริหารมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความสัมพันธ์กันใน ระดับสูงและเป็นความสัมพันธ์ทางบวก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ปัจจัยการบริหารมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่นในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกด้าน โดยมีความสัมพันธ์กันอยู่ในระดับสูง 1 ด้าน ได้แก่ การปรับ กิจกรรมการเรียนการสอนหรือจัดกิจกรรมเสริม นอกนั้นมีความ สัมพันธ์กันในระดับปานกลางเรียงลำดับตามค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ คือ การจัดทำ สื่อการเรียนขึ้นใหม่ การปรับปรุงและเลือกใช้สื่อการเรียน การ ปรับรายละเอียดของเนื้อหา และการจัดทำคำอธิบายหรือรายวิชา เพิ่มเติมขึ้นใหม่ 4. ปัจจัยการบริหารที่สามารถร่วมกันอธิบาย ความแปรปรวนของการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 พบว่า มีตัวพยากรณ์ จำนวน 7 ตัว ที่สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่น ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขต การศึกษา 5 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ.001 คือ การปรับตัวขององค์การและการริเริ่มสิ่งใหม่ (X12) การ บริหารทรัพยากร (X8) ความผูกพันธ์ต่อองค์กร (X5) การนำ เทคโนโลยีมาใช้ (X2) ความพอใจในการปฏิบัติงาน (X6) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก (X3) และบรรยากาศที่ดีในองค์การ (X4) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างตัวพยากรณ์ ทั้ง 7 ตัวกับตัวแปรเกณฑ์ เท่ากับ 0.0804 ประสิทธิภาพในการ ทำนายคิดเป็นร้อยละ 64.60

http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=6265&query=%BA%C3%D4%CB%D2%C3%B7%C3%D1%BE%C2%D2%A1%C3&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-03-29&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=10&maxid=1264

วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2562

Academic Advisors and Their Diverse Advisees: Towards More Ethical Global Universities

Academic Advisors and Their Diverse Advisees: Towards More Ethical Global Universities
Lee, Yuko Ikegami; Metcalfe, Amy Scott
Journal of International Students, v7 n4 p944-962 2017
In this comparative content analysis, job postings for academic advising personnel from U.S. and Canadian higher education institutions were examined to ascertain expectations for job candidates in terms of skills and duties, educational requirements, and compensation. Fifty-three job descriptions from 18 research-intensive, public universities were collected for this study. The findings show that institutions expect academic advisors to be multitalented and skilled professionals, but that calls for experience working with international students are limited, despite the rising importance of internationalization in higher education.
Journal of International Students. 4005 Spurgeon Drive #6, Monroe, LA 71203. Tel: 318-600-5743; Fax: 318-342-3131; e-mail: jistudents.submission@gmail.com; Web site: http://jistudents.org
Publication Type: Journal Articles; Reports - Research
Education Level: Higher Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A
Identifiers - Location: Canada; United States

การบริหารการศึกษาเพื่อการพัฒนาการศึกษาเปรียบเทียบในประชาคมอาเซียนThe Comparative Academic Administrationfor Educational Development in ASEAN

การบริหารการศึกษาเพื่อการพัฒนาการศึกษาเปรียบเทียบในประชาคมอาเซียนThe Comparative Academic Administrationfor Educational Development in ASEAN